บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า :: Dhammakaya Foundation & Wat Phra Dhammakaya : World Peace through Inner Peace using Meditation Practice  

 

บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า

บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า

คำบูชาพระรัตนตรัยโดยพิสดาร

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ, ปัจฉิมา ชะนะตา นุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะ ปัณณากา – ระภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.

  • หมายเหตุ
  • ให้สวดหยุดเป็นตอนๆ ตามสัญลักษณ์  “ , ”  หรือ “ . ”

คำนมัสการพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบครั้งที่หนึ่ง)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบครั้งที่สอง)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบครั้งที่สาม)

ปุพพะภาคะนะมะการะ

กล่าวนำ: หันฺทะ มะยัง พุทฺธัสฺสะ ภะคะวะโตปุพฺพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (กล่าว 3 ครั้ง)

พุทฺธาภิถุติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส.

โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะ –ธัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา, โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง, สัสสะมะณะ พราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ, โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิ – กัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง, สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะ – จะริยัง ปะกาเสสิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ ฯ (กราบระลึกถึงพระพุทธคุณ)

  • หมายเหตุ
  • สะพรัหมะกัง อ่านว่า สะ – พรำ – ม – กัง
  • สัจฉิกัตวา อ่านว่า สัด – ฉิ – กัด – ตะ – วา (เสียง อะ ครึ่งเสียง)
  • พรัหมะจะริยัง อ่านว่า พรำ – มะ – จะ – ริ – ยัง

ธัมมาภิถุติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส.

โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ –วิญูหิ, ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ, ตะมะหัง ธัมมัง สิระสานะมามิ ฯ (กราบระลึกถึงพระธรรมคุณ)

สังฆาภิถุติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส.

โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ, ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ, ตะมะหัง สังฆัง สิระสานะมามิ ฯ (กราบระลึกถึงพระสังฆคุณ)

  •  หมายเหตุ
  • อาหุเนยโย อ่านว่า อา – หุ  – ไน  – โย ( เ–ย อ่านว่า ไ–ย ทุกแห่ง)
  • ต่อไปนี้ให้นั่งพับเพียบแล้วสวดต่อ

 ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะสังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.

พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว, โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน, โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก, วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน, โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก, โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน, วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, สังโฆ สุเขตตาภะยะติเขตตะสัญญิโต, โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก, โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส, วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.

อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง, วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง, ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.

สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปฺปันฺโน อะระหัง สัมฺมาสัมฺพุทฺโธ, ธัมฺโม จะ เทสิโต นิยฺยานิโก อุปะสะมิโก ปะริ  –นิพฺพานิโก, สัมฺโพธะคามี สุคะตัปฺปะเวทิโต, มะยันฺตัง ธัมฺมัง สุตฺวา เอวัง ชานามะ, ชาติปิ ทุกฺขา ชะราปิ ทุกฺขา มะระณัมฺปิ ทุกฺขัง, โสกะปะริเทวะทุกฺขะโทมะนัสฺสุปายาสาปิ ทุกขา, อัปฺปิเยหิ สัมฺปะโยโค ทุกฺโข ปิเยหิ วิปฺปะโยโค ทุกฺโข, ยัมปิจฉัง นะ ละภะติตัมปิ ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, เสยยะถีทัง, รูปูปาทานักขันโธ, เวทะนูปาทานักขันโธ, สัญญูปาทานักขันโธ, สังขารูปาทานักขันโธ, วิญญาณูปาทานัก –ขันโธ, เยสัง ปะริญญายะ, ธะระมาโน โส ภะคะวา, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี, พะหุลา ปะวัตตะติ, รูปัง อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา อะนิจจา, สังขารา อะนิจจา, วิญญาณัง อะนิจจัง, รูปัง อะนัตตา, เวทะนา อะนัตตา, สัญญา อะนัตตา, สังขารา อะนัต –ตา, วิญญาณัง อะนัตตา, สัพเพสังขารา อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, เต มะยัง (ตา มะยัง), โอติณ –ณามหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ทุกโขติณณา ทุกขะ – ปะเรตา, อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา, ปัญญาเยถาติ, จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุทฺทิสฺสะ อะระหันฺตัง สัมฺมาสัมฺพุทฺธัง, สัทฺธา อะคารัสฺมา อะนะคาริยัง ปพฺพชิตา, ตัสฺมิง ภะคะวะติ พรัหฺมะจะริยัง จะรามะ, ภิกฺขูนัง สิกฺขาสาชีวะสะมาปันฺนา, *** ตัง โน พรัหฺมะจะริยัง อิมัสฺสะ เกวะลัสฺสะ  ทุกฺขักฺขันฺธัสฺสะ อันฺตะกิริยายะ, สังวัตฺตะตุ.

  • (อักษรตัวหนา คฤหัสถ์พึงสวดแทนว่า)

จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ, สา สา โน ปะฏิปัตติ, อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะ – กิริยายะ, สังวัตตะตุ.

  • หมายเหตุ
  • เต มะยัง (ตา มะยัง) ท่านชายว่า เต มะยัง ท่านหญิงว่า ตา มะยัง
  • โอติณณามหะ อ่านว่า โอ– ติน – นาม – หะ
  • โลลัปปะหีโน อ่านว่า โล – ลับ – ปะ – ฮี – โน
  • ถ้าสามเณรสวด พึงเว้นคำว่า ภิกขูนัง สิกฺขาสาชีวะสะมาปันฺนา

 ตังฺขะณิกะปัจฺจะเวกฺขะณะปาโฐ

กล่าวนำ: หันฺทะ มะยัง ตังฺขะณิกะปัจฺจะเวกฺขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.

ปะฏิสังฺขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสฺสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณฺหัสฺสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมฺผัสฺสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฺฉาทะนัตฺถัง.

ปะฏิสังฺขา โยนิโส ปิณฺฑปาตัง ปะฏิเสวามิ, เนวะ ทะวายะ นะมะทายะ นะ มณฺฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ, ยาวะเทวะ อิมัสฺสะ กายัสฺสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะนะติยา พฺรัหฺมะจะริยานุคฺคะหายะ, อิติ ปุราณัญฺจะ เวทะนัง ปฏิหังฺขามิ นะวัญฺจะ เวทะนัง นะ อุปฺปาเทสฺสามิ, ยาตฺ๎รา จะ เม ภะวิสฺสะติ อะนะวัชฺชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ.

ปะฏิสังฺขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสฺสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณฺหัสฺสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมฺผัสฺสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ อุตุปะริสฺสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลฺลานารามัตฺถัง.

ปะฏิสังฺขา โยนิโส คิลานะปัจฺจะยะเภสัชฺชะปะริกฺขารัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ อุปฺปันฺนานัง เวยฺยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ, อัพฺ๎ยาปัชฺฌะปะระมะตายาติ.

  • หมายเหตุ
  • อัพฺ๎ยา อ่านว่า อับ – พะ – ยา (ออกเสียง พะ กึ่งเสียง)

ธาตุปฏิกูลปัจฺจะเวกฺขะณะปาโฐ

กล่าวนำ: หันฺทะ มะยัง ธาตุปะฏิกูละปัจฺจะเวกฺขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.

ยถาปัจฺจะยัง ปะวัตฺตะมานัง ธาตุมัตฺตะเมเวตัง, ยะทิทัง จีวะรัง. ตะทุปะภุญฺชะโก จะ ปุคฺคะโล ธาตุมัตฺตะโก นิสฺสัตฺโต นิชฺชีโว สุญฺโญ. สัพฺพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคุจฺฉะนียานิ, อิมัง ปูติกายัง ปัตฺ๎วา อะติวิยะ ชิคุจฺ –ฉะนียานิ ชายันฺติ.

ยถาปัจฺจะยัง ปะวัตฺตะมานัง ธาตุมัตฺตะเมเวตัง, ยะทิทัง ปิณฺฑะปาโต. ตะทุปะภุญฺชะโก จะ ปุคฺคะโล ธาตุมัตฺ  –ตะโก นิสฺสัตฺโต นิชฺชีโว สุญฺโญ. สัพโพ ปะนายัง ปิณฺฑปาโต อะชิคุจฺฉะนีโย, อิมัง ปูติกายัง ปัตฺ๎วา อะติวิยะ ชิคุจฺฉะนีโย ชายะติ.

ยถาปัจฺจะยัง ปะวัตฺตะมานัง ธาตุมัตฺตะเมเวตัง, ยะทิทัง เสนาสะนัง. ตะทุปะภุญฺชะโก จะ ปุคฺคะโล ธาตุมัตฺตะโก นิสฺสัตฺโต นิชฺชีโว สุญฺโญ. สัพฺพานิ ปะนะ อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิคุจฺฉะนียานิ, อิมัง ปูติกายัง ปัตฺ๎วา อะติวิยะ ชิคุจฺฉะนียานิ ชายันฺติ.

ยถาปัจฺจะยัง ปะวัตฺตะมานัง ธาตุมัตฺตะเมเวตัง, ยะทิทัง คิลานะปัจฺจะยะเภสัชฺชะปะริกฺขาโร. ตะทุปะภุญฺชะโก จะ ปุคฺคะโล ธาตุมัตฺตะโก นิสฺสัตฺโต นิชฺชีโว สุญฺโญ. สัพฺโพ ปะนายัง คิลานะปัจฺจะยะเภสัชฺชะปะริกฺขาโร อะชิคุจฺฉะนีโย, อิมัง ปูติกายัง ปัตฺ๎วา อะติวิยะ ชิคุจฺฉะนีโย ชายะติ.

  • หมายเหตุ
  • ปัตฺ๎วา อ่านว่า ปัด – ตะ – วา (ออกเสียง ตะ กึ่งเสียง)

ปัตติทานะคาถา

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง ปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส.

ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี, ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง, ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา, โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล, เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว, สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา, คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา, สัปปาณะภูตา สุขิตา ภะวันตุ เต, ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา, สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา, นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต, สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง, ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา, สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ อัตถายะ จะ หิตายะ จะ, อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน, วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต.

  • (บางแห่งสวดเพิ่มว่า)

ปะสันฺนา โหนฺตุ สัพฺเพปิ ปาณิโน พุทธะสาสะเน, สัมฺมา ธารัง ปะเวจฺฉันฺโต กาเล เทโว ปะวัสฺสะตุ, วุฑฺฒิภาวายะ สตฺตานัง สะมิทฺธัง เนจุ เมทะนิง, มาตา ปิตา จะ อัตฺระชัง นิจฺจัง รักฺขันฺติ ปุตฺตะกัง, เอวัง ธัมฺเมนะ ราชาโน ปะชัง รักฺขันฺตุ สัพฺพะทา.

ทำวัตรเช้าเสร็จแล้ว ให้ทุกท่านสำรวมใจ นั่งคุกเข่า ประนมมือ เพื่อสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยโดยพร้อมเพรียงกัน ดังต่อไปนี้

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.

(กราบครั้งที่หนึ่ง กล่าวว่า) พุทโธ เม นาโถ, พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งของเรา.

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ.

(กราบครั้งที่สอง กล่าวว่า) ธัมโม เม นาโถ, พระธรรมเป็นที่พึ่งของเรา.

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

(กราบครั้งที่สาม กล่าวว่า) สังโฆ เม นาโถ, พระสงฆ์เป็นที่พึ่งของเรา.

บทความอื่นๆในหมวดนี้